คำสุภาษิต คือคำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี คำสุภาษิตมักจะแต่งให้คล้องจองฟังแล้วระรื่นชื่นหู เพื่อให้จดจำได้ง่ายและเกิดการใช้งานได้บ่อย หลายครั้งที่เราได้พบกับคำสุภาษิตจากสื่อต่างๆไม่ว่าจะเป็นเฟซบุ๊ค หรือทวิตเตอร์ เราอาจจะเข้าใจหรือไม่เข้าใจในความหมายของมันก็ได้ ในวันนี้ www.tewfree.com ได้รวบรวมความหมายของคำสุภาษิต คำพังเพย ไทยๆ มาไว้ที่นี่ครบๆ แล้วครับ
คำสุภาษิต
คำสุภาษิตไทย เป็นคำพูดที่สอดแทรกคติธรรม คำสอน และแนวคิดอันล้ำค่าที่สั่งสมผ่านกาลเวลา สะท้อนวิถีชีวิตและค่านิยมของคนไทยมาช้านาน คำสุภาษิตเหล่านี้เปรียบเสมือนมรดกทางภูมิปัญญาที่บรรพบุรุษได้สั่งสมไว้ให้ลูกหลาน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
คำสุภาษิตไทยมักใช้ถ้อยคำที่เรียบง่าย แต่แฝงไปด้วยความหมายอันลึกซึ้ง โดยเปรียบเทียบเหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติกับเรื่องราวในชีวิตจริง ทำให้เข้าใจง่ายและจดจำได้อย่างง่ายดาย
คำสุภาษิตมีอยู่ด้วยกันสองประเภทคือ
- คำสุภาษิตที่ฟังแล้วเข้าใจได้ทันที โดยที่ไม่ต้องแปลความหมายให้เข้ากับสถานการณ์นั้นๆ เช่น ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
- คำสุภาษิตที่ฟังแล้วไม่เข้าใจในทันที ต้องแปลความหมายของมันให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆก่อนถึงจะทราบถึงความหมายและแนวสอนของคำสุภาษิตนั้นๆ เช่น ผีบ้านไม่ดี ผีป่าก็พลอย
สุภาษิตไทยเป็นคำสอนจากบรรพบุรุษที่สั่งสมมาช้านาน ช่วยให้เราเข้าใจชีวิตและสังคมได้ดีขึ้น
นอกจากนี้ยังมีคำใกล้เคียงกับคำสุภาษิตอยู่อีกคือ
สำนวน
คือคำที่พูดออกมาในลักษณะเปรียบเทียบ และจะฟังไม่เข้าในในทันทีต้องแปลความหมายก่อน เช่นเดียวกับรูปแบบที่สองของคำสุภาษิต
คำพังเพย
คำพังเพย คือคำพูดที่ออกมาโดยที่ไม่ได้ตั้งใจว่าจะสั่งสอนอะไร ออกแนวพูดเปรียบเทียบว่าสถานการณ์นี้เป็นอย่างไรเสียมากกว่า แต่คำพังเพยส่วนใหญ่ก็มักจะแฝงคติเตือนใจที่สามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้
คำคม
คำคม คือถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในปัจจุบันทันด่วน ส่วนมากเป็นถ้อยคำที่หลักแหลม คำคมไทยมักจะเกี่ยวกับคำสอนชีวิตที่ทรงคุณค่า ฟังแล้วต้องยกนิ้วให้ ผู้ที่คิดคำคมต่างๆออกมามักจะเป็นผู้ที่ฉลาดปราดเปรื่อง นักปราชญ์ เช่นคำคมของขงเบ้ง เป็นต้น
คำขวัญ
คำขวัญ คือคำที่แต่งมาเพื่ออธิบายพรรณนาให้เข้าใจเกี่ยวกับเหตุการณ์นั้นๆ หรือวันสำคัญต่างๆ เช่นคำขวัญกรุงเทพมหานคร หรือคำขวัญวันเด็ก เป็นต้น
คำสุภาษิตไทยพร้อมความหมาย
คำสุภาษิตหมวด ก.
สำนวน สุภาษิตไทย | ความหมาย |
---|---|
กงเกวียนกำเกวียน | ทำอะไรกับใครไว้ ย่อมได้รับผลกรรมนั้น |
กบในกะลาครอบ | มีความรู้หรือประสบการณ์น้อยมักนึกว่าตัวรู้มาก |
กรวดน้ำคว่ำขัน (คว่ำกะลา) | ตัดขาดไม่เกี่ยวข้องด้วย ชาตินี้อย่าได้จอยกัน |
กระเชอก้นรั่ว | ใช้จ่ายเงินสุรุ่ยสุร่าย ไม่ประหยัด ไม่เก็บหอมรอมริบ |
กระดี่ได้น้ำ | ดีอกดีใจจนเกินงาม เนื้อตัวสั่น ทำแว้ดๆ |
กระต่ายขาเดียว | ยืนกรานไม่ยอมรับผิด ฉันไม่ได้ทำ ฉันเปล่านะ |
กระต่ายตื่นตูม | ตื่นตกใจง่าย ยังไม่ทันหาสาเหตุให้ชัดเจนเสียก่อนแล้วโวยวาย |
กระต่ายหมายจันทร์ | ผู้ชายที่หมายปองหญิงสูงศักดิ์ ฐานะดีกว่าตัวเอง |
กระโถนท้องพระโรง | บุคคลที่ถูกใคร ๆ รุมใช้อยู่คนเดียว |
กลับเนื้อกลับตัว | เลิกทำความชั่ว แล้วมาประพฤติตัวเป็นคนดี |
กลับหน้ามือเป็นหลังมือ | เปลี่ยนแปลงจากเดิมไปอย่างตรงกันข้าม |
กล้านักมักบิ่น | กล้าเกินไปมักจะเกิดอันตรายได้ |
กว่าถั่วจะสุกงาก็ไหม้ | ทำงาน 2 อย่าง แบบลังเลใจ แก้ปัญหาไม่ทันท่วงทีต้องเสียงานไป 1 อย่าง |
ก่อร่างสร้างตัว | ทำงานหาเงินเป็นกอบเป็นกำ ตั้งเนื้อตั้งตัวได้เป็นหลักฐาน |
กาคาบพริก | คนผิวดำที่ชอบแต่งตัวด้วยเสื้อผ้าสีแดง ๆ หรือสีแจ๋นๆ |
กำขี้ดีกว่ากำตด | ได้มาบ้างดีกว่าไม่ได้อะไรเลย |
กำแพงมีหูประตูมีช่อง / กำแพงมีหูประตูมีตา | จะพูดอะไรต้องระวัง อาจมีคนรู้ได้ |
กิ่งทองใบหยก | ชายหนุ่ม หญิงสาวเหมาะสมกันดีที่จะแต่งงาน |
กินที่ลับไขที่แจ้ง | เอาความลับหรือเอาเรื่องที่ทำกันที่ลับมาเปิดเผยให้คนเขารู้ |
กินน้ำใต้ศอก | เมียน้อยต้องยอมรับของเหลือเดนจากเมียหลวงตกเป็นรองด้านศักดิ์ศรี |
กินน้ำพริกถ้วยเก่า | อยู่กับเมียคนเดิม |
กินน้ำไม่เผื่อแล้ง | มีเงิน มีของก็ใช้ถลุงเสียจนหมด ไม่ห่วงอนาคตข้างหน้า |
กินน้ำเห็นปลิง | ตะขิดตะขวงใจกับคนชั่วที่รู้พูดหรือคบด้วยโดยรู้ว่าเขาไม่ดี |
กินบนเรือนขี้บนหลังคา | คนเนรคุณอาศัยบ้านเขาหรือเขาให้ความช่วยเหลือแต่กลับทำความบัดซบให้ |
เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน | เก็บเล็กผสมน้อย เก็บส่วนเล็กส่วนน้อยจนเป็นรูปเป็นร่างเป็นกอบเป็นกำ |
เกลือจิ้มเกลือ | แก้แค้นให้สาสมกับที่ทำไว้ ไม่ยอมเสียเปรียบกัน |
เกลือเป็นหนอน | คนภายในกลุ่มของเรา คิดทรยศไปบอกความลับฝ่ายตรงข้าม |
เกี่ยวแฝกมุงป่า | ทำอะไรเกินกำลังความสามารถของตัว |
แกว่งเท้าหาเสี้ยน | อยู่ดีไม่ว่าดี ไปหาเรื่องเดือดร้อนใส่ตัว |
ไก่แก่แม่ปลาช่อน | หญิงมีอายุมาก มีมารยามาก เล่ห์เหลี่ยมมาก จัดจ้าน |
ไกลปืนเที่ยง | ไม่ค่อยรู้ความเป็นไปของโลก เพราะอยู่ห่างไกลความเจริญ |
ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ | ต่างฝ่ายต่างรู้ความลับของกันและกัน |
ไก่แก่แม่ปลาช่อน หมายถึง หญิงมีอายุมาก มีมารยามาก เล่ห์เหลี่ยมมาก จัดจ้าน
ประวัติความเป็นมา: สุภาษิตนี้น่าจะมาจากการที่ไก่แก่มีประสบการณ์มากกว่าไก่หนุ่ม จึงมีเล่ห์เหลี่ยมในการหากินมากกว่า เช่นเดียวกับหญิงมีอายุที่มีประสบการณ์ชีวิตมากกว่าหญิงสาว จึงมีเล่ห์เหลี่ยมในการเอาตัวรอดมากกว่า
คำสุภาษิตหมวด ข.-จ.
สำนวน สุภาษิตไทย | ความหมาย |
---|---|
ขนมผสมน้ำยา | ทั้งคู่ดีเลวพอกัน จะบอกว่าใครดีกว่าใครไม่ได้ |
ข่มเขาโคขืนให้กินหญ้า | บังคับขืนใจผู้อื่นให้ทำตามที่ใจเราปรารถนา |
ขว้างงูไม่พ้นคอ | ทำอะไรก็ตาม ผลร้ายย้อนกลับมาสู่ตัวเอง |
ขวานฝ่าซาก | พูดจาตรง ๆ ไม่เกรงใจใครเลย |
ขายผ้าเอาหน้ารอด | ยอมเสียสละของสำคัญของตนเพื่อรักษาชื่อเสียงตนเอาไว้ |
ขิงก็รา ข่าก็แรง | ต่างคนต่างอารมณ์ร้อนพอกัน ต่างคนต่างไม่ยอมกัน |
ขี่ช้างจับตั๊กแตน | ลงทุนมาก แต่กลับได้ผลนิดหน่อย |
ขุดด้วยปาก ถากด้วยตา | เหยียดหยามทั้งวาจา และสายตามองแบบดูถูก |
ขุดบ่อล่อปลา | ทำกลอุบายให้เขาเชื่อเพื่อหวังผลประโยชน์ |
เข็นครกขึ้นภูเขา | ทำงานที่ยากลำบากต้องใช้ความเพียรพยายามและอดทนมาก |
เข้าด้ายเข้าเข็ม | กำลังคับขันเวลากำลังสำคัญ ถ้าพลาดหรือมีอะไรมาขัดจังหวะจะเสียการ |
เข้าตามตรอก ออกตามประตู | ทำตามขนบธรรมเนียมประเพณี ส่วนใหญ่หมายถึงการแต่งงาน |
เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า | ให้รอบคอบ อย่าประมาท |
เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม | ทำตัวให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมที่คนในสังคมนั้นเขาทำกัน |
เขียนเสือให้วัวกลัว | หลอก ขู่ ให้ฝ่ายตรงข้ามเสียขวัญหรือเกรงขาม |
คนในข้อ งอในกระดูก | กมลสันดาน เกิดมาก็ชอบคดโกง |
คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ | จะคบเพื่อนต้องพิจารณาให้ดีเสียก่อน |
คลื่นกระทบฝั่ง | เรื่องราวเกิดขึ้นแล้วก็เงียบหายไปในที่สุด |
คลุมถุงชน | การแต่งงานที่เจ้าบ่าวเจ้าสาว ต่างไม่ได้รักกันมาก่อน โดนผู้ใหญ่จับแต่ง |
ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด | มีความรู้มากแต่ไม่รู้จักใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์ |
คอหอยกับลูกกระเดือก | เข้ากันได้ดีแยกกันไม่ออกสนิทสนมกัน |
คางคกขึ้นวอ | คนจนพอได้ดีขึ้นมา ก็ลืมตัว |
คาหนังคาเขา | จับได้ในขณะที่กำลังทำผิดหรือพร้อมกับของกลาง |
โคแก่ชอบกินหญ้าอ่อน | ชายแก่ชอบหญิงเอ๊าะๆ เป็นเมีย |
ฆ้องปากแตก | เก็บความลับไม่อยู่ ชอบนำความลับของคนอื่นไปโพนทะนา |
ฆ่าควายอย่าเสียดายพริก | จะทำการใหญ่ ไม่ควรตะหนี่ หรือเค็มนะจ๊ะ |
งมเข็มในมหาสมุทร | ค้นหาสิ่งที่ยากจะค้นหาได้ |
เงยหน้าอ้าปาก / ลืมตาอ้าปาก | มีฐานะดีขึ้นกว่าเดิม |
จับงูข้างหาง | ทำสิ่งที่เสี่ยงต่ออันตราย |
จับแพะชนแกะ | ทำอย่างขอไปที ไม่ได้อย่างนี้ก็เอาอย่างนั้นเพื่อให้เสร็จๆ ไป |
จับเสือมือเปล่า | หาผลประโยชน์โดยตัวเองไม่ลงทุน |
จุดไต้ตำตอ | พูดหรือทำบังเอิญไปโดนเจ้าของเรื่องโดยผู้พูดนั้นไม่รู้ตัว |
ข่มเขาโคขืนให้กินหญ้า เป็นสุภาษิตไทยที่แปลว่า “บังคับให้ทำในสิ่งที่เขาไม่ต้องการหรือเขาไม่ชอบ” สุภาษิตนี้มักใช้เพื่อสื่อถึงการกระทำที่เป็นการบังคับหรือบีบบังคับผู้อื่นให้ทำในสิ่งที่เขาไม่อยากทำ เช่น การบังคับให้แต่งงานกับคนที่ไม่อยากแต่งงาน การบังคับให้ทำงานที่ไม่อยากทำงาน เป็นต้น
คำสุภาษิตหมวด ช.-ด.
สำนวน สุภาษิตไทย | ความหมาย |
---|---|
ชักใบให้เรือเสีย | พูดหรือขวางให้การสนทนาออกนอกเรื่อง |
ชักแม่น้ำทั้งห้า | พูดจาหว่านล้อม ยกยอคนอื่นว่าเขาดีเลิศ เพื่อเราจะได้สมปรารถนา |
ชักหน้าไม่ถึงหลัง | มีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย |
ชั่วช่างชี ดีช่างสงฆ์ | พระสงฆ์จะประพฤติตัวอย่างไรก็เรื่องของท่าน ท่านก็ได้รับผลกรรมเอง |
ช้าๆได้พร้าสองเล่มงาม | ค่อยๆคิด ค่อยๆทำ พิจารณาให้ดี รอบคอบ เดี๋ยวจะสัมฤทธิ์ผลเอง |
ช้างตายทั้งตัว เอาใบบัวมาปิด | ความผิดร้ายแรงที่คนรู้ทั่วกันแล้ว จะปิดอย่างไรก็ไม่มิด |
ผัวหาบ เมียคอน | ช่วยกันทำมาหากินทั้งผัวและเมีย |
ชี้นกบนปลายไม้ | หวังในสิ่งที่อยู่ไกลตัว มันเป็นไปได้ยาก |
ชุบมือเปิบ | ฉวยเอาผลประโยชน์ของผู้อื่น โดยตัวเองไมได้ลงทุนลงแรง |
ซื่อเหมือนแมวนอนหวด | ทำเป็นซื่อ ๆ |
ซื้อควายหน้านา ซื้อผ้าหน้าตรุษ (หน้าหนาว) | ซื้อของไม่คำนึงถึงกาลเวลาย่อมได้ของแพง (Demand สูง Supply ต่ำ) |
ดีดลูกคิดรางแก้ว | คิดถึงผลได้ ผลดีอย่างเดียว |
ได้ทีขี่แพะไล่ | ไปซ้ำเติม เยาะเย้ยเมื่อคนอื่นเพลี่ยงพล้ำ |
ได้ทีขี่แพะไล่ เป็นสุภาษิตไทยที่แปลว่า “ใช้โอกาสที่ได้มาในทางที่ผิดหรือเกินเลย” สุภาษิตนี้มักใช้เพื่อสื่อถึงการกระทำที่เป็นการเอาเปรียบผู้อื่นหรือใช้โอกาสที่ได้มาในทางที่ผิด เช่น การเอาเปรียบคนอื่นที่อ่อนแอกว่า การฉวยโอกาสทำสิ่งที่ผิด เป็นต้น
คำสุภาษิตหมวด ต.
สำนวน สุภาษิตไทย | ความหมาย |
---|---|
ตกกะไดพลอยโจน | จำเป็นต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อไม่มีทางเลี่ยง |
ตักน้ำรดหัวตอ | แนะนำเท่าไร พร่ำสอนเท่าไร ก็ไม่ได้ผล |
ตักบาตรอย่าถามพระ | จะให้อะไรแก่คนอื่น อย่าไปถามเขาว่าเอาไหม อยากได้ไหม |
ตัดหางปล่อยวัด | ตัดขาดไม่เกี่ยวข้อง |
ตาบอดคลำช้าง | คนที่รู้อะไรด้านเดียว แล้วเข้าใจแต่อย่างนั้น สิ่งนั้น |
ตาบอดได้แว่น | คนที่มีสิ่งที่ตัวเองใช้ประโยชน์ไม่ได้ มักใช้คู่กับ หัวล้านได้หวี |
ตาลยอดด้วน | คนที่ไม่มีหนทางทำมาหากินคนไม่มีบุตรสืบสกุล |
ตำข้าวสารกรอกหม้อ | ทำพอให้เสร็จไปแค่ครั้งหนึ่ง ๆ พอพรุ่งนี้จะเอา ค่อยทำใหม่ |
ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ | เสียทรัพย์โดยไม่ได้รับประโยชน์อะไร |
ติเรือทั้งโกลน | ติพล่อย ๆ ตำหนิในสิ่งที่เขายังทำไม่เสร็จ |
ตีงูให้กากิน | ทำสิ่งที่ตนควรจะได้รับประโยชน์ แต่กลับไม่ได้ ตกอยู่กับผู้อื่นซะเนี่ย |
ตีงูให้หลังหัก | ทำสิ่งใดแก่ศัตรูไม่เด็ดขาดจริงจัง ย่อมได้รับผลร้ายภายหลัง |
ตีตนก่อนไข้ | กังวลทุกข์ร้อนก่อนในเรื่องที่ยังไม่เกิดขึ้น |
ตีนถีบปากกัด / ปากกัดตีนถีบ | มานะพยายามทำงานทุกอย่างเพื่อปากท้อง โดยไม่ห่วงคำนึงถึงความลำบาก |
ตีปลาหน้าไซ | พูดหรือทำให้กิจการของผู้อื่นซึ่งกำลังดำเนินไปด้วยดีกลับเสีย |
ตีวัวกระทบคราด | โกรธคนหนึ่งแต่ทำอะไรเขาไม่ได้ก็เลยรังควานอีกคนที่ตนเองสามารถทำได้ |
ตื่นแต่ดึก สึกแต่หนุ่ม | เร่งรัดเกินไปในเวลาที่ยังไม่เหมาะสม |
เตี้ยอุ้มค่อม | คนจนแต่รับเลี้ยงดูคนที่ต่ำต้อยจนเหมือนกัน |
ตีปลาหน้าไซ หมายถึง การพูดหรือทำให้กิจการของผู้อื่นซึ่งกำลังดำเนินไปด้วยดีกลับเสีย ตัวอย่าง:
- ฝ่ายค้านพยายามตีปลาหน้าไซรัฐบาล ด้วยการโจมตีนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล
- คู่แข่งพยายามตีปลาหน้าไซบริษัทของเรา ด้วยการปล่อยข่าวลือว่าบริษัทของเรากำลังจะล้มละลาย
คำสุภาษิตหมวด ถ.-ป.
สำนวน สุภาษิตไทย | ความหมาย |
---|---|
ถอดเขี้ยว ถอดเล็บ | เลิกแสดงฤทธิ์เดชอำนาจอีก |
ถอยหลังเข้าคลอง | หวนกลับไปหาแบบเดิม ๆ ล้าสมัย |
ถี่ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น | ดูเหมือนจะรอบคอบถี่ถ้วน แต่รอบคอบไม่จริง |
ทำนาออมกล้า ทำปลาออมเกลือ | ทำการสิ่งใด ถ้ากลัวหมดเปลืองย่อมไม่ได้ผล |
นกสองหัว | ทำตัวเข้ากับทั้ง 2 ฝ่ายที่เขาไม่ถูกกัน โดยหวังประโยชน์เพื่อตน |
นายว่าขี้ข้าพลอย | พลอยพูดผสมโรงติเตียนผู้อื่นตามเจ้านาย |
น้ำขึ้นให้รีบตัก | มีโอกาสดีก็ควรรีบทำ |
น้ำซึมบ่อทราย | รายได้มาเรื่อย ๆ |
น้ำท่วมทุ่ง ผักบุ้งโหรงเหรง | พูดมากได้สาระน้อย |
น้ำท่วมปาก | พูดไม่ได้ เกรงจะมีภัยแก่ตนหรือผู้อื่น |
น้ำลดตอผุด | เมื่อหมดอำนาจ ความชั่วที่ทำไว้ก็ปรากฎ |
บนข้าวผี ตีข้าวพระ | ขอร้องให้เทวดาผีสางนางไม้ช่วยโดยการบน |
บอกหนังสือสังฆราช | สอนสิ่งที่เขารู้ดีอยู่แล้ว |
เบี้ยบ้ายรายทาง | เงินที่ต้องใช้จ่าย หรือเสี่ยไปเรื่อย ๆ ในขณะทำธุรกิจให้สำเร็จ |
ปลาติดร่างแห (ติดหลังแห) | คนที่พลอยรับเคราะห์กรรมกับคนอื่น ทั้ง ๆ ที่ไม่ได้มีส่วนพัวพัน |
ปากปราศัย ใจเชือดคอ | พูดดีแต่ใจคิดร้าย |
ปากว่าตาขยิบ | พูดอย่างหนึ่งแต่ทำอีกอย่างหนึ่ง ปากกับใจไม่ตรงกัน |
ปากหวานก้นเปรี้ยว | พูดจาอ่อนหวาน แต่ไม่จริงใจ |
ปิดทองหลังพระ | ทำดีแต่ไม่มีใครยกย่อง เพราะมองไม่เห็นคุณค่า |
ไปไหนมา สามวาสองศอก | ถามอย่างหนึ่ง ตอบไปอีกอย่างหนึ่ง |
ปิดทองหลังพระ เป็นสำนวนไทยที่แปลว่า “ทำความดีโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนหรือชื่อเสียง” สำนวนนี้มักใช้เพื่อสื่อถึงการกระทำที่เป็นการทำความดีโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนหรือชื่อเสียง เช่น การช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทน การเสียสละเพื่อส่วนรวม เป็นต้น
คำสุภาษิตหมวด ผ.-ย.
สำนวน สุภาษิตไทย | ความหมาย |
---|---|
ผักชีโรยหน้า | ทำความดีเพียงผิวเผิน |
ผีซ้ำด้ำพลอย | ถูกซ้ำเติม เมื่อพลาดพลั้งหรือเมื่อคราวเคราะห์ร้าย |
ผีถึงป่าช้า | ต้องยอมทำ เพราะจำใจหรือไม่มีทางเลือก |
ฝนตกไม่ทั่วฟ้า | ให้หรือแจกจ่ายอะไรไม่ทั่วถึงกัน |
ฝนทั่งให้เป็นเข็ม | เพียรพยายามสุดความสามารถจนสำเร็จ |
พบไม้งามเมื่อขวานบิ่น | พบหญิงสาวที่ถูกใจ เมื่อแก่แล้ว |
พออ้าปากก็เห็นลิ้นไก่ | รู้ทันกัน ไม่มีทางจะโกหก หลอกกันได้ |
พูดเป็นต่อยหอย | พูดฉอด ๆ ไม่หยุดปาก เม้าท์เก่ง |
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง | พูดไปไม่มีประโยชน์ นิ่งเสียดีกว่า สงบสยบความเคลื่อนไหว |
มะนาวไม่มีน้ำ | พูดห้วน ๆ |
มะกอกสามตะกร้าปาไม่ถูก | พูดจาตลบตะแลงพลิกแพลงไปมาจนจับคำพูดไม่ทัน |
มากหมอมากความ | มากคนก็มากเรื่อง วุ่นวาย ต่างคนต่างก็ถือความคิดตัวเอง |
มือถือสาก ปากถือศีล | ชอบแสดงตัวตนว่าเป็นคนมีศีล มีธรรม แต่ทำความเลวเป็นนิจ |
มือห่าง ตีนห่าง | สุรุ่ยสุร่าย เลินเล่อ สะเพร่า ไม่ระมัดระวัง |
ไม่ดูตาม้าตาเรือ | ไม่พิจารณารอบคอบดูให้ดี |
ไม่รู้จักหัวนอนปลายตีน | ไม่รู้ว่าบ้านช่องอยู่ไหน เป็นลูกหลานใคร ไม่รู้จักพื้นเพ |
ไม่เห็นน้ำตัดกระบอก ไม่เห็นกระรอกก่งหน้าไม้ | ด่วนตัดสินใจทำอะไรเลยไป ทั้ง ๆ ที่ยังไม่ถึงเวลาอันควร |
ไม้ใกล้ฝั่ง | แก่มาก อายุขัยใกล้ตาย |
ไม่หลักปักไม้เลน | โลเล ไม่แน่นอน |
ยกตนข่มท่าน | พูดทับถมผู้อื่นแสดงให้เห็นว่าตัวเหนือกว่า |
ยกภูเขาออกจากอก | โล่งอก หมดวิตกกังวล |
ยื่นแก้วให้วานร | เอาของมีค่าให้คนที่ไม่รู้จักค่าของสิ่งนั้น |
พบไม้งามเมื่อขวานบิ่น เป็นสำนวนไทยที่แปลว่า “พบสิ่งดีงามเมื่อตนเองไม่พร้อมหรือไม่สามารถครอบครองได้” สำนวนนี้มักใช้เพื่อสื่อถึงการกระทำที่เป็นการเสียใจหรือเสียดายเมื่อพบสิ่งดีงามเมื่อตนเองไม่พร้อมหรือไม่สามารถครอบครองได้ เช่น การพบรักแท้เมื่อตนเองมีคู่อยู่แล้ว การพบโอกาสดีๆ เมื่อตนเองไม่พร้อม เป็นต้น
คำสุภาษิตหมวด ร.-ส.
สำนวน สุภาษิตไทย | ความหมาย |
---|---|
รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ | รักจะคบกันนาน ๆ ให้ตัดความคิดอาฆาตพยาบาทออกไป รักจะอยู่สั้น ๆ ให้คิดอาฆาต |
รีดเลือดกับปู | บังคับเอากับผู้ยากจนที่ไม่มีจะให้ |
ละเลงขนมเบื้องด้วยปาก | ดีแต่พูด เม้าท์ แต่ทำจริง ๆ ทำไม่ได้ |
ลางเนื้อชอบลางยา | ของบางสิ่งอาจถูก เข้ากันได้ดี เหมาะกับคนหนึ่ง แต่อาจไม่เหมาะกับอีกคน |
ลูกขุนพลอยพยัก | พวกประจบสอพลอ ผู้ที่คอยว่าตามผู้ใหญ่ เจ้านาย |
ลูกผีลูกคน | จะเอาแน่นอนไม่ได้ มักใช้ในกรณีสำคัญๆ |
ลูบหน้าปะจมูก | จะทำอะไรเด็ดขาดจริงจังลงไปไม่ได้ เพราะเกรงจะไปกระทบพวกพ้องตัวเอง |
เล่นเอาเถิดเจ้าล่อ | อาการหลบไปมาเพื่อไม่ให้พบ |
เลือดข้นกว่าน้ำ | ญาติพี่น้องย่อมดีกว่าคนอื่น |
วัวใครเข้าคอกคนนั้น | กรรมที่ใครสร้างไว้ ย่อส่งผลให้แก่ผู้นั้น |
ว่ายน้ำหาจระเข้ | เสี่ยงเข้าพบทั้ง ๆ ที่รู้ว่าเป็นอันตราย |
ศรศิลป์ไม่กินกัน | ไม่ถูกกัน ไม่ลงรอยกัน ไม่ชอบหน้ากัน |
สร้างวิมานในอากาศ | คิดคาดหวัง จะมีจะเป็นอะไรอย่างเลิศลอย |
สวรรค์อยู่ในอก นรกอยู่ในใจ | ความสุขที่เกิดจาการทำดี ทำชั่ว อยู่ที่ใจทั้งนั้น |
สองฝักสองฝ่าย | ทำตัวเข้ากับ 2 ฝ่ายที่ไม่ถูกกัน โดยหวังประโยชน์เพื่อตน |
สอนจระเข้ให้ว่ายน้ำ | สอนสิ่งที่เขารู้ดีหรือถนัดอยู่แล้ว |
สาวไส้ให้กากิน | เอาความลับของตน หรือพวกตนไปเผยให้คนอื่นรู้เป็นการประจานตน |
สิ้นไร้ไม้ตอก | ยากไร้ ขัดสนถึงที่สุด ไม่มีทรัพย์สมบัติติดตัว |
สิบเบี้ยใกล้มือ | ของหรือประโยชน์ที่ควรได้ก็เอาไว้ก่อน |
สุกเอาเผากิน | ทำลวก ๆ ทำพอเสร็จไปครั้ง ๆ หนึ่ง |
เส้นผมบังภูเขา | เรื่องง่าย ๆ แต่คิดไม่ออก เหมือนมีอะไรมาบังอยู่ |
สอนจระเข้ว่ายน้ำ เป็นสุภาษิตไทยที่แปลว่า “การสอนสิ่งที่เขารู้ดีหรือที่เขาถนัดอยู่แล้ว” สุภาษิตนี้มักใช้เพื่อสื่อถึงการกระทำที่ไร้ประโยชน์หรือเป็นไปไม่ได้ เช่น การพยายามสอนคนที่รู้อยู่แล้วว่าอะไรถูกหรือผิด การพยายามเปลี่ยนความคิดหรือการกระทำของคนที่ดื้อรั้น เป็นต้น
คำสุภาษิตหมวด ห.-อ.
สำนวน สุภาษิตไทย | ความหมาย |
---|---|
หงิมๆ หยิบชิ้นปลามัน | บุคลิกลักษณะเรียบร้อย แต่ความจริงฉลาด เลือกเอาดี ๆ ไปได้ |
หญ้าปากคอก | สะดวก ง่าย ไม่มีอะไรยุ่งยาก |
หนังหน้าไฟ | ผู้ที่คอยรับหน้า รับความเดือดร้อนก่อนผู้อื่น |
หน้าเนื้อใจเสือ | หน้าตาแสดงความเมตตา แต่ใจโหดเหี้ยม |
หนามยอกเอาหนามบ่ง | ตอบโต้หรือแก้ด้วยวิธีการทำนองเดียวกัน |
หน้าสิ่วหน้าขวาน | อยู่ในระยะอันตราย เพราะอีกฝ่ายหนึ่งกำลังโกรธ |
หมาในรางหญ้า | คนที่หวงแหนสิ่งที่ตนเองกินหรือใช้ไม่ได้ แต่ไม่ยอมให้คนอื่นกินหรือใช้ |
หมาสองราง | คนที่ทำตัวเข้าทั้ง 2 ฝ่ายที่เป็นศัตรูกัน โดยหวังประโยชน์เพื่อตน |
หยิกเล็บเจ็บเนื้อ | เมื่อทำความเดือดร้อนให้แก่คนใกล้ชิด ก็จะมีผลกระทบถึงตัวผู้ทำหรือพวกพ้อง |
หอกข้างแคร่ | คนใกล้ชิดที่จะคอยทำร้ายเมื่อใดก็ได้ |
หักด้ามพร้าด้วยเข่า | หักโหมเอาด้วยกำลัง ใช้อำนาจบังคับเขา |
หัวแก้วหัวแหวน | เป็นที่รักใคร่เอ็นดูมาก |
หัวมังกุ ท้ายมังกร | ไม่เข้ากัน ไม่กลมกลืนกัน |
หัวหลักหัวตอ | บุคคลที่น้อยใจ เพราะคนอื่นมองข้ามความสำคัญ ไม่ยอมมาปรึกษา |
เหยียบเรือสองแคม | ทำทีเข้าด้วยทั้ง 2 ฝ่าย |
หูผีจมูกมด | ไหวตัวทันเหตุการณ์ตลอด |
หาเหาใส่หัว | รนหาเรื่องเดือดร้อน รำคาญใส่ตน |
เอามะพร้าวห้าวไปขายสวน | แสดงความรู้หรืออวดรู้กับผู้ที่รู้เรื่องดีกว่า |
เอาเนื้อหนูไปปะเนื้อช้าง | เอาทรัพย์หรือสิ่งของจากคนที่มีน้อยไปให้ผู้ที่มีมากกว่า |
เอามือซุกหีบ | หาเรื่องเดือดร้อนหรือความลำบากใส่ตัวโดยใช่ที่ |
เอาไม้ซีกไปงัดไม้ซุง | คัดค้านผู้มีอำนาจ ฐานะสูงกว่า หรือผู้ใหญ่กว่า มักจะล้มเหลว |
เอาหูไปนา เอาตาไปไร่ | แสร้งทำเป็นไม่รู้ไม่เห็น ไม่สนใจ |
ตัวอย่างการใช้คำสุภาษิต
คำสุภาษิตเป็นคำสอนจากบรรพบุรุษที่สั่งสมมาช้านาน สะท้อนภูมิปัญญาและวิถีชีวิตของคนไทย คำสุภาษิตมักใช้คำพูดสั้น ๆ กระชับ เข้าใจง่าย แต่แฝงไปด้วยความหมายที่ลึกซึ้ง คำสุภาษิตสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน ทั้งในเรื่องการใช้ชีวิต การทำงาน และความสัมพันธ์กับผู้อื่น
ตัวอย่างการใช้คำสุภาษิตในการใช้ชีวิต
- “รู้รักษาตัวรอด” หมายถึง รู้จักเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างปลอดภัย
- “น้ำขึ้นให้รีบตัก” หมายถึง โอกาสมาแล้วต้องรีบคว้าไว้
- “ช้าๆ ได้พร้าเล่มงาม” หมายถึง ค่อยๆ ค่อยๆ ทำอย่างรอบคอบ จะได้งานที่ดี
ตัวอย่างการใช้คำสุภาษิตในการทำงาน
- “ทำงานไม่ดูหน้า” หมายถึง ทำงานด้วยความตั้งใจ ไม่เกี่ยงงาน ไม่ดูถูกงาน
- “คนเก่งไม่กลัวงาน” หมายถึง คนที่มีความสามารถไม่กลัวที่จะทำงานหนัก
- “งานยากไว้ก่อน” หมายถึง ทำงานที่ยากก่อน เพื่อให้งานง่าย ๆ ตามมา
ตัวอย่างการใช้คำสุภาษิตในความสัมพันธ์กับผู้อื่น
- “พูดดีมีอามิ” หมายถึง คำพูดที่ไพเราะอ่อนหวาน ย่อมเป็นที่ชื่นชอบของผู้อื่น
- “คบคนพาลพาลพาไปหาผิด” หมายถึง คบคนไม่ดี ย่อมนำไปสู่การทำผิด
- “น้ำใจงาม คือ ทรัพย์ที่มีค่า” หมายถึง ความมีน้ำใจเป็นคุณธรรมที่ควรยึดมั่น
คำสุภาษิตเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่าของไทย การเรียนรู้และนำไปประยุกต์ใช้ จะช่วยให้เราดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขและประสบความสำเร็จ
ประโยชน์ของคำสุภาษิตไทย
คำสุภาษิตไทยมีประโยชน์มากมายในการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็น
- เป็นแนวทางในการดำรงชีวิตอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ช่วยให้ตัดสินใจได้อย่างมีสติและรอบคอบ
- สร้างความอดทนและพยายามในการเผชิญกับความท้าทายต่างๆ
- ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างมีสุขในสังคม
คำสุภาษิตไทยยังสามารถสอนให้เรารู้จัก คุณค่า คุณธรรม และจริยธรรมที่ดีต่างๆ เช่น
- ความซื่อสัตย์สุจริต
- ความกตัญญูรู้คุณ
- ความเคารพนับถือผู้อื่น
- ความอดทนและพยายาม
- ความมีน้ำใจ เสียสละ และช่วยเหลือผู้อื่น
การนำคำสุภาษิตไทยมาใช้ในชีวิตประจำวัน จะช่วยให้เราเป็นคนที่มีคุณภาพ มีความสุข และประสบความสำเร็จในชีวิตได้
คำสุภาษิตไทยในชีวิตประจำวัน
คำสุภาษิตไทยเปรียบเสมือนเครื่องมือชี้นำที่ช่วยให้เราเดินไปสู่ความสำเร็จและความสุขได้อย่างราบรื่น ตัวอย่างเช่น สุภาษิตที่ว่า “ช้าๆ ได้พร้าเล่มงาม” สอนให้เรารู้ถึงคุณค่าของความรอบคอบและการไม่รีบร้อน ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการทำสิ่งต่างๆ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อีกทั้งยังช่วยให้เรามีสติและไม่ประมาทในการดำเนินชีวิต
การเรียนรู้และนำเอาคำสุภาษิตไทยมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันนั้นไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่เราหมั่นสังเกตและเก็บเกี่ยวคำสอนจากผู้ใหญ่รอบตัว รวมถึงการศึกษาคำสุภาษิตต่างๆ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น หนังสือ นิยาย หรือบทความออนไลน์ เมื่อเราเข้าใจความหมายและเจตนาของคำสุภาษิตแล้ว เราก็สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
นอกจากนี้ คำสุภาษิตไทยยังสอนให้เรารู้จักการเคารพผู้อื่นและการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างเหมาะสม ตัวอย่างเช่น สุภาษิตที่ว่า “ไผ่ลู่ลม” สอนให้เรารู้จักการอ่อนน้อมถ่อมตนและการไม่ยึดติดในความคิดเห็นของตนเอง อีกทั้งยังสอนให้เรารู้จักการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
Download PDF
หรือถ้าใครสนใจจะ download ข้อมูลคำสุภาษิตไทยด้านบนนี้ในรูปแบบไฟล์ PDF ก็สามารถ download ได้ที่ปุ่มสีแดงข้างล่างนี้เลยครับ
บทสรุป
คำสุภาษิตไทยมิได้เป็นเพียงคำกล่าวที่สวยหรู แต่ยังเป็นแนวทางการดำเนินชีวิตที่คนไทยได้สั่งสมและสืบทอดมาช้านาน ปราชญ์แห่งสุภาษิตไทยได้กลั่นกรองประสบการณ์ชีวิตและถ่ายทอดผ่านภาษาอันงดงาม ทำให้คำสุภาษิตไทยกลายเป็นมรดกทางภูมิปัญญาที่ทรงคุณค่าและควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้สืบต่อไป
ลุ๊กปั๊ม รามอินทราพาเพลิน says
ปูเสื่อรอจ้า
วิน says
มาดูรอบที่สองยังไม่จบ มาให้กำลังใจครับ
Mook Chanel says
ให้สามผ่านค่ะ
ลูกชายโนแลน says
ขอบคุณครับ อาจารย์
Pha Ched says
จากที่ไม่เข้าใจ กลายเป็นเข้าใจมากๆเลยค่ะ
หลงรัก says
ปวดหัวอ่ะ
oskaqw says
ดีมาก
sfghjk says
ดีมาก
rocky says
พ่องตายสุภาษิตโครตเยอะเลยสัส
สุวิชญา says
ขอบคุนมากค่ะ
jimmi says
ดีมากอ่าสุภาษิตเยอะจิมๆ
jimmi says
ดีมากเยอะจิม
มนัส says
ดำมหาสหุด
Lovely says
เยอะกว่านี้ได้มั้ยคะ
นะห์เด็กเทพศิรินทร์ says
ดีจังคำสุษาษิต
p เอง says
มะปรางรักโตด
00000000000000000000000000000000000000000000000 says
พี รัก อุ้ม
battle rock says
อิอิก็ดีนะ@_@
lighning eagel says
จำยากสัสสัส
แอน พิรดา says
ดีมากเลยค่ะทามลายงานเสร็จทันเวลาพอดี
Big says
Five night at Freddy’s ดีกว่าอีก
Big says
งง
armir says
5555
marron 5 says
very simple
Sak&Tae says
ดีจัง 555+สวย
nam says
ดีมากค่ะเข้าใจง่ายขึ้น
frank says
อิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิ ชักใบให้เรือเสีย พูดหรือขวางให้การสนทนาออกนอกเรื่อง
ชักแม่น้ำทั้งห้า พูดจาหว่านล้อม ยกยอคนอื่นว่าเขาดีเลิศ เพื่อเราจะได้สมปรารถนา
ชักหน้าไม่ถึงหลัง มีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย
ชั่วช่างชี ดีช่างสงฆ์ พระสงฆ์จะประพฤติตัวอย่างไรก็เรื่องของท่าน ท่านก็ได้รับผลกรรมเอง
ช้าๆได้พร้าสองเล่มงาม ค่อยๆคิด ค่อยๆทำ พิจารณาให้ดี รอบคอบ เดี๋ยวจะสัมฤทธิ์ผลเอง
ช้างตายทั้งตัว เอาใบบัวมาปิด ความผิดร้ายแรงที่คนรู้ทั่วกันแล้ว จะปิดอย่างไรก็ไม่มิด
ผัวหาบ เมียคอน ช่วยกันทำมาหากินทั้งผัวและเมีย
ชี้นกบนปลายไม้ หวังในสิ่งที่อยู่ไกลตัว มันเป็นไปได้ยาก
ิbank says
ผมชอบนิดนึงครับ
Few Love Sakura karnsanaruk says
It is a very good
RoBank says
ดีคับ เยอะดี
chaiwat chotbantoa says
มึนหัว
chaiwat chotbantoa says
เท่ๆ
Baboon says
สวดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด ยอดดดดดดดดดดดด จริมๆ
ศิริขวัญ says
ดีเนอะ
มินตรา says
ดีแล้วสะดวกด้วย
น่าดี says
ให้ความรู้
จีจี้ says
มีแต่สำนวนสนุกๆทั้งนั้น
จีจี้ says
สู้สู้
รารา says
สวัสดีนะทุกคน
มิกุ says
สวัสดี
เติร์ดลภัช says
ขอบคุนนะคับการบ้านเยอะมากขอบคุนคับ
JameS says
น่าจะมีสั้นๆเนอะ
กอบกิจ สิทธิธนกานต์ says
ความจริง เป็นสิ่งที่ไม่ตาย สจฺ สจจํ อธิฏฐามิ.
กอบกิจ สิทธิธนกานต์ says
สจฺจ สจฺจํ อธิฏฐามิ.
วรวิทย์ says
GGGGGGGGGGGGGGGGG
วรวิทย์ says
ไรวะ
ตา เปอร์ says
“ฒ
ศศิกานต์ เพิ่มขึ้น says
ร่วมแสดงความคิดเห็นในข้อความ คำสุภาษิต180คำ พร้อมความหมาย
ศศิกานต์ เพิ่มขึ้น says
อิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิอิ ชักใบให้เรือเสีย พูดหรือขวางให้การสนทนาออกนอกเรื่อง
ชักแม่น้ำทั้งห้า พูดจาหว่านล้อม ยกยอคนอื่นว่าเขาดีเลิศ เพื่อเราจะได้สมปรารถนา
ชักหน้าไม่ถึงหลัง มีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย
ชั่วช่างชี ดีช่างสงฆ์ พระสงฆ์จะประพฤติตัวอย่างไรก็เรื่องของท่าน ท่านก็ได้รับผลกรรมเอง
ช้าๆได้พร้าสองเล่มงาม ค่อยๆคิด ค่อยๆทำ พิจารณาให้ดี รอบคอบ เดี๋ยวจะสัมฤทธิ์ผลเอง
ช้างตายทั้งตัว เอาใบบัวมาปิด ความผิดร้ายแรงที่คนรู้ทั่วกันแล้ว จะปิดอย่างไรก็ไม่มิด
ผัวหาบ เมียคอน ช่วยกันทำมาหากินทั้งผัวและเมีย
ชี้นกบนปลายไม้ หวังในสิ่งที่อยู่ไกลตัว มันเป็นไปได้ยาก
ครีมน่ารักอิอๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ says
ศศิกานต์ เพิ่มขึ้น ชั้นม.1 เลขที่ 20 รร พงศ์สิริวิทยา ตำบล หนองไม้แดง อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี ครูประจำชั้น นางสาว บังอร โสภา ชื่อเล่นครูประจำชั้น ครูนำ้หวาน ครูประจำวิชาภาษาไทย ครู วรุทัย ชื่อเล่นครูประจำวิชาภาษาไทย ครูป๊อบ
พิมนา says
เนื้อหาดีมากๆเลยค่ะขอบคุณค่ะ
Mary Falsd says
ดีมากครับจำง่าย
Stam says
ดีมากๆ จำง่าย และทำให้มีความรู้เข้าใจง่ายๆๆๆๆๆๆมาก
อรรถพล มิ่งขวัญ says
หาเวลาว่างๆ ศึกษานะครับ
four says
ว่าววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
วววววววววววว………………….
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว……….
………………………..
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
ววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววววว
วววววววววววววววว:D
วสุ says
ดีมาก
อะฟุฟวย says
สุดยอด
คน นามสกุล มนุษย์ says
เยอะมากเลยค่ะ
wwwas says
จำง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
rov says
ดีมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
ปาากกากาำ says
าพาพมๆใๅใ
https://youtu.be/d1XHPjpOvmA says
ดีนะจะบอกให้
Sea says
เยอะมากเลยคับ
fsdfsfa says
555
9u89y78y says
งงๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
มาาา says
เก่งมากอาจารย์
คนไทย says
ว้าววววววววววว
วววววววววววว
วววววววววว
ว
วว
ว
ว
ว
ว
ว
ว
ว
ว
ว
ว
ว
ว
ว
ว
ผู้ชาย says
ง่ายมาก
sdghwethj says
สุดยอดมากเลยครับ
งงอะ บอกหน่อย says
อันนี้อะไรอะ
“ระวังเถอะ _ บ _ _ า _ _ ง _ _ แบบนั้นจะไม่เหลือใครเลย
l miss you so much says
ดีมากๆๆเลยค่ะ ทำการบ้านได้สะดวกขึ้นเยอะเลย
อาจขาดบางสุภาษิตไปบ้าง แต่ถือว่าเยอะและเข้าใจง่ายพอสมควรเลยค่ะ ㅇㅅㅇ ♥♥♥
l miss you so much says
รักๆๆ ♥
ป.5หนองแดงกุดจิก says
เยี่ยมมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆครับ
ป.5หนองแดงกุดจิก says
เด็กเขียนได้…………………………..
ใบบุญ says
ผมไม่รู้เรื่องเลยครับ…………..งง
gooksie says
ดีมากค่ะ
กอบกิจ สิทธิธนกานต์ says
รู้อะไรไม่สู้รู้วิชา รู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี.
ท่านสุนทรภู่.
กอบกิจ สิทธิธนกานต์ says
ชีวิต คือการต่อสู้ ศัตรู คือยากำลัง.
เจ้ากรรมนายเวรที่รัก.
Fern says
ดีมากกกกค่ะ อิ_อิ
Annette says
ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ
นินาลาย says
เอามาด่ากันเจ็บมาก
นินาลาย says
ชอบเอามาด่ากันสอนกัน
ควายในตำนานนนน says
เห้ยนี้ัมันคืออะไร
กุกี้ says
สะดวกดีค่ะไม่ต้องไปไล่หา
็HEEBAN says
ดีครับ
Lei (เหลย) ป.5 says
ช่วยทําการบ้านได้เยอะเลยยยย very very good!
กขค says
ดีมาก
ภูมิไง says
ดีมากครับทำให้ผมส่งงานครูได้ทั่น
ภูมิไง says
ผมเอง
5555555 says
ครูสั่งเยอะมากกกกกกกกกกกกกกก
pop says
ขออนุญาตนำไปในการเรียนการสอนนะคะ
the new ipad says
เนื้อหาพอใช้ได้
แก้มมี่ไงอิอิ says
มีไม่ครบอ่ะค่ะ แต่ก็ดีน๊าาา
[TAM]FANF AT FREDDY says
กล้วยอร่อยมากๆ กากกากเว็บnoob
CHAN says
มีสุภาษิตสำหรับสอนหญิงไหมค่ะ
พลาธิป ประมวล says
ดีเกิ้นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน
aom says
ฟหหหหหหหหหหห
จะหมัดจะมวยจะไรก้เข้าม says
olooloololololololoolololo
มาร์คง่าย says
เงี่ยนๆๆๆ
มาร์คง่าย says
อยากมีแฟนจังเบย แอดเฟสได้งับ ดนัย ทับภู
Boombiie says
ดีมากกกกกกกกกก
BooM says
ดีมาก
กิต งาย says
……น้ำ……ตัว ตรง…มันคืออะไรครับเเล้วก็ …..ไม่……น้ำ……
ครูบ้านนอก says
ดีมากค่ะ ขออนุญาตนำไปสอนเด็กนะคะ ขอบคุณค่ะ
ด.ช.ณฐาภพ says
พี่ครับ ผมได้ความรู้ใหม่ๆจากเว็บไซต์นี้มากเลย ตอนนี้ผมทำการบ้านได้เเล้วครับเเละขอให้พี่มีคนกดไลค์เยอะๆนะครับ อิๆ
รินนิภา อรุณวงค์ says
งง
เด็กกระโปก says
โครตกากเลย
สุดยอด says
สุดยอด
snowzeasy12 says
สุดยอดมากคราบบ
Hybrid says
สอบวันพรุ้งนี้แล้วยังอ่านไม่จบเลย
Prayut says
123ปลาฉลามขึ้นบก
ธนกฤต says
Very good. Thanks a lot
Song says
ดีมากๆค่ะ
ABCDEFG says
กินข้าวแล้ว
nuck says
ขอบคุณมากค่ะ
Oat Atthaphon says
ขอบคุณที่แชร์นะคะ
Vorachai Boy says
ขอบคุณที่แนะนำครับ
จ้อย มาตรี says
ขอบคุณที่ให้เราได้มีโอกาสได้เรียนรู้ ความรู้ดีๆของท่านจะติดตัวเราไปจนวันตาย
wiriyasombat says
ขอบคุณสำหรับข้อมูล
Dusit Srichalermnark says
ขอบคุณที่มาเพิ่มข้อมูลให้ครับ
pry says
-ขอชื่นชมนะคะ และเป็นกำลังใจให้ทำดีๆต่อไป อยากเห็นคนไทยฉลาดไม่แพ้ประเทศอื่นๆ
โชคชัย กันทะจักร says
ดีมากๆเลยครับ
Patter says
ดี งามมมมม
worawarun pitakjivanont says
ดีค่ะ
ธีรภัทร หน่อแแก้ว says
สนุกมากๆเลย
GG THIN says
สนุกมากครับ