สังคมศึกษา ป.4: ปูพื้นฐานพลเมืองคุณภาพ
วิชาสังคมศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของนักเรียน ให้เป็นพลเมืองคุณภาพ รู้จักตนเอง ตระหนักถึงสิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข เข้าใจประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมไทย ทักษะการคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร การทำงานร่วมกัน ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตและการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
บทเรียนเหล่านี้เป็นเสมือนรากฐานที่มั่นคง พานักเรียนเติบโตเป็นพลเมืองที่สมบูรณ์ ร่วมสร้างสรรค์สังคมไทยให้เจริญก้าวหน้า
หลักสูตรวิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เทอมต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รู้เท่าทันสินค้าและบริการ
เรื่อง 1.1 รู้เท่าทันสินค้าและบริการ
- ความหมายสินค้าและบริการ
- ประเภทของสินค้าและบริการ
- ประโยชน์ของสินค้าและบริการ
- การเลือกซื้อสินค้าและบริการ
- ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการ
- การคุ้มครองผู้บริโภค
- สิทธิพื้นฐานของผู้บริโภค
- เครื่องหมายรับรองคุณภาพสินค้าและบริการ
- หลักการเเละวิธีการเลือกซื้อสินค้าเเละบริการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตดีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง 2.1 ชีวิตดีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- เศรษฐกิจพอเพียง
- หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- การเก็บออมตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
- การดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 วิถีชีวิตเศรษฐกิจชุมชน
เรื่อง 3.1 วิถีชีวิตเศรษฐกิจชุมชน
- เศรษฐกิจในชุมชน
- ลักษณะอาชีพในชุมชนของตนเอง
- บทบาทของอาชีพต่าง ๆ ในชุมชน
- การพึ่งพาอาศัยกันทางเศรษฐกิจในชุมชน
- บทบาทการพึ่งพาอาศัยกันทางเศรษฐกิจของกลุ่มคนในชุมชน
- ผลดีของการพึ่งพาอาศัยกันทางเศรษฐกิจของชุมชน
- การสร้างความเข้มแข็งในชุมชน
- ลักษณะของชุมชนที่พึ่งพาตนเอง
- การมีส่วนร่วมกับเศรษฐกิจชุมชน
- ลักษณะอาชีพในชุมชน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เงินทองเป็นของมีค่า
เรื่อง 4.1 เงินทองเป็นของมีค่า
- ความหมายของเงิน
- ประเภทของเงิน
- ความสำคัญของเงิน
- หน้าที่เบื้องต้นของเงินในระบบเศรษฐกิจ
- สกุลเงินสำคัญที่ใช้ในการซื้อขายระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่อง 5.1 การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขตามวิถีประชาธิปไตย
- พลเมืองดีในชุมชน
- การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
- หลักธรรมในการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี
- การปฏิบัติตนของสมาชิกในชุมชน
- บทบาทความรับผิดชอบผู้นำและผู้ตามที่ดี
- แนวทางการปฏิบัติตนในฐานะผู้นำและผู้ตามที่ดี
- ผู้นำและผู้ตามในสังคมประชาธิปไตย
- งานกลุ่มดีมีประสิทธิภาพ
- ความขัดแย้ง
- ปัญหาและสาเหตุของการเกิดความขัดแย้งในชีวิตประจำวัน
- แนวทางแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สิทธิเด็ก
เรื่อง 6.1 สิทธิเด็ก
- สิทธิที่จะมีชีวิตรอด และสิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
- สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา และสิทธิที่จะมีส่วนร่วม
- สิทธิขั้นพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับตามกฎหมาย
- ปกป้องสิทธิของตนเอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 วัฒนธรรมไทย
เรื่อง 7.1 วัฒนธรรมไทย
- ความหมายของวัฒนธรรม
- ประเภทของวัฒนธรรม
- ความแตกต่างทางวัฒนธรรม
- วัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 การเมือง การปกครองไทย
เรื่อง 8.1 การเมือง การปกครองไทย
- สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยตามระบอบประชาธิปไตย
- การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย
- ลักษณะสำคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย
- อำนาจอธิปไตย
- ความสำคัญของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
- บทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง
- คุณสมบัติของผู้มีสิทธิในการเลือกตั้ง
- ความสำคัญของการไปใช้สิทธิในการเลือกตั้ง
- กิจกรรมประชาธิปไตย
หลักสูตรวิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เทอมปลาย
หน่วยที่ 9 มุ่งมั่นและศรัทธา
เรื่อง 1.1 มุ่งมั่นและศรัทธา
- ความสำคัญของศาสนา
- ประวัติศาสดา
- พุทธประวัติ ตอน ตอนตรัสรู้
- พุทธประวัติ ตอน ประกาศธรรม
- พุทธสาวก
- ชาดก
- พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง
- พระรัตนตรัย
หน่วยที่ 10 พาจิตแจ่มใส
เรื่อง 2.1 พาจิตแจ่มใส
- ไตรสิกขา
- การไม่ทำความชั่ว
- การทำความดี
- การทำจิตใจให้ผ่องใสบริสุทธิ์
- การเจริญปัญญา
- สติสัมปชัญญะ สมาธิและปัญญา
- การพัฒนาจิตกำหนดความรู้สึก
- ฝึกกำหนดความรู้สึก
- พัฒนาจิตให้เรียนดี
หน่วยที่ 11 ปฏิบัติมาเป็นนิจ
เรื่อง 3.1 ปฏิบัติมาเป็นนิจ
- พุทธศาสนสุภาษิต
- หลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์
- ชื่นชมคนดีมีคุณธรรม
- ศาสนสถาน
- หน้าที่ชาวพุทธ
- มารยาทชาวพุทธ
- ศาสนพิธี
- การอาราธนาในศาสนพิธี
- วันธรรมสวนะ และวันสำคัญทางศาสนา
หน่วยที่ 12 ศาสนาในประเทศไทย
เรื่อง 4.1 ศาสนาในประเทศไทย
- ศาสดาของศาสนาในประเทศไทย
- หลักคำสอนของศาสนาในประเทศไทย
- ศาสนพิธีของศาสนาในประเทศไทย
- ศาสนสถานของศาสนาในประเทศไทย
หน่วยที่ 13 มหัศจรรย์กายภาพจังหวัด
เรื่อง 5.1 มหัศจรรย์กายภาพจังหวัด
- แผนที่กับจังหวัด
- รูปถ่ายกับลักษณะทางกายภาพของจังหวัด
- ปัจจัยเกี่ยวกับลักษณะของจังหวัด
- สิ่งแวดล้อมทางกายภาพในจังหวัด
- วิถีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมตามลักษณะทางกายภาพ
- ลักษณะของจังหวัดตนเอง
- พื้นที่ภูมิสัมพันธ์ สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อม และการดำเนินชีวิต
- ลักษณะทางกายภาพและสถานที่สำคัญในจังหวัด
- ลักษณะของภูมิประเทศ
- จังหวัดที่สนใจกับลักษณะทางกายภาพ
- แผนที่กายภาพจังหวัด
- แหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญของจังหวัด
- ภูมิลักษณ์ของจังหวัด
- รูปถ่ายในจังหวัด
- ภาพจากดาวเทียม
- ประโยชน์ของการใช้แผนที่ และรูปถ่าย
หน่วยที่ 14 ซึมซับการเปลี่ยนแปลง
เรื่อง 6.1 ซึมซับการเปลี่ยนแปลง
- สิ่งแวดล้อมในจังหวัด
- อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
- สิ่งแวดล้อมจากอดีตถึงปัจจุบัน
- การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมจากมนุษย์
- การตั้งถิ่นฐานตามสภาพแวดล้อม
- การย้ายถิ่นฐานตามสภาพแวดล้อม
- การแก้ปัญหาการเคลื่อนย้ายประชากร
- การจัดการสิ่งแวดล้อม
- สิ่งแวดล้อมน่าอยู่ ทรัพยากรเหลือใช้
หน่วยที่ 15 หวงแหนสิ่งแวดล้อม
เรื่อง 7.1 หวงแหนสิ่งแวดล้อม
- คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
- ประโยชน์ของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
- ผลของสิ่งแวดล้อม
- ปัญหาและแนวทางฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม
บทสรุป
ทักษะเหล่านี้ล้วนเป็นทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตและการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ นักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร และการทำงานร่วมกัน จะสามารถเติบโตเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ร่วมสร้างสรรค์สังคมไทยให้เจริญก้าวหน้า
ร่วมแสดงความคิดเห็นในหัวข้อ “เนื้อหา สังคมศึกษา ป.4 อัพเดทล่าสุด ตามหลักสูตรกระทรวง”