หลักสูตรภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ภาษาไทยเป็นภาษาที่งดงามและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว การเรียนรู้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตั้งแต่เยาว์วัยจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง หลักสูตรภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนได้อย่างคล่องแคล่ว พูดและฟังภาษาไทยอย่างเข้าใจ และใช้ภาษาไทยอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และบุคคล
ในหลักสูตรนี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการอ่าน การเขียน การพูด และการฟังภาษาไทยอย่างครบถ้วน นอกจากนี้ ผู้เรียนยังจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับกลวิธีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก และความคิดสร้างสรรค์ของตนเองได้อย่างเต็มที่
เนื้อหา ภาษาไทย ป.3 เทอมต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โรงเรียนของเรา
เรื่อง 1.1 โรงเรียนของเรา
- การทักทาย
- สระในภาษาไทย
- สระสร้างสรรค์
- สระประสมชวนคิด
- สระมหัศจรรย์ (-ะ เปลี่ยนรูปเป็น -ั ) และ (เ-ะ เปลี่ยนรูปเป็น เ -็ )
- สระมหัศจรรย์ (แ-ะ เปลี่ยนรูปเป็น แ -็ ) และ (เ-อ เปลี่ยนรูปเป็น เ – ิ)
- สระมหัศจรรย์ (สระโอะ (โ-ะ) สระเออ (เ-อ) สระอัว (-ั ว) ลดรูป)
- ครบเครื่องเรื่องสระ
- สรุปความรู้สระในภาษาไทย
- สร้างสรรค์ชิ้นงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภาษาไทยพื้นฐาน
เรื่อง 2.1 ภาษาไทยพื้นฐาน
- มาตรา ตัวสะกด แม่ ก กา
- มาตรา ตัวสะกด แม่ กง
- มาตรา ตัวสะกด แม่ กม
- มาตรา ตัวสะกด แม่ เกย
- มาตรา ตัวสะกด แม่ เกอว
- ตัวสะกดน่าจดจำ
- คำคล้องจอง
- ฝึกแต่งคำคล้องจอง
- คำขวัญ
- แต่งคำขวัญ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สื่อสารประทับใจ
เรื่อง 3.1 สื่อสารประทับใจ
- มาตรา ตัวสะกด แม่ กก
- มาตรา ตัวสะกด แม่ กบ
- สร้างสรรค์งาน (มาตรา กก กบ)
- มาตรา ตัวสะกด แม่ กน
- มาตรา ตัวสะกด แม่ กด
- สร้างสรรค์งาน (มาตรา กน กด)
- การอ่านบทร้อยกรอง มาตราตัวสะกด
- ปริศนาคำทาย
- ปริศนาคำทายมาตรา ตัวสะกด
- สร้างสรรค์ผลงาน (ปริศนาคำทายมาตรา ตัวสะกด)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความกรุณาพาสุขใจ
เรื่อง 4.1 ความกรุณาพาสุขใจ
- เรียงลำดับเหตุการณ์ (แม่กาเหว่ารักลูก)
- เรียงลำดับเหตุการณ์ (นกเขาเถื่อน)
- เขียนแผนภาพโครงเรื่อง (ดาวลูกไก่)
- ตอบคำถามเชิงเหตุผล (เด็กน้อย)
- ตอบคำถามเชิงเหตุผล (วิชาหนาเจ้า)
- หลานยายกะตา (นิทานลูกโซ่)
- เขียนแผนภาพโครงเรื่อง (หลานยายกะตา)
- พระคุณนี้มีค่า
- เรื่องเล่าของแม่ (การเล่ารายละเอียดจากเรื่อง ที่ฟังและดู)
- ผู้มีพระคุณของฉัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 อักษรหรรษา
เรื่อง 5.1 อักษรหรรษา
- อักษรควบกล้ำ (ร ควบ)
- อักษรควบกล้ำ (ล ควบ)
- อักษรควบกล้ำ (ว ควบ)
- อักษรควบกล้ำ ( ทร เปลี่ยนเสียงเป็น ซ )
- อักษรควบกล้ำ (จ ซ ศ ส ออกเสียงเฉพาะตัวหน้า)
- ควบกล้ำนำไปใช้
- อักษรสามหมู่ (อักษรสูง)
- อักษรสามหมู่ (อักษรกลาง)
- อักษรสามหมู่ (อักษรต่ำ)
- อักษรสร้างสรรค์ (สูง กลาง ต่ำ)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ศึกษาชนิดคำไทย
เรื่อง 6.1 ศึกษาชนิดคำไทย
- อักษรนำ (ออกเสียงพยางค์เดียว)
- อักษรนำ (อักษรสูงนำต่ำเดี่ยว)
- อักษรนำ (อักษรกลางนำต่ำเดี่ยว)
- อักษรนำจำไปใช้ (พีระมิดอักษรนำ)
- คำนาม
- คำสรรพนาม
- คำกริยา
- สร้างสรรค์ชิ้นงาน (คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา)
- สัญลักษณ์น่ารู้
- สัญลักษณ์น่ารู้ (ป้ายจราจรประเภทบังคับ และป้ายเตือน)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สื่อสารผ่านประโยค
เรื่อง 7.1 สื่อสารผ่านประโยค
- ส่วนประกอบของประโยค
- ฝึกแต่งประโยค
- ประโยคบอกเล่า
- ประโยคคำถาม
- ประโยคปฏิเสธ
- ประโยคขอร้อง
- ประโยคคำสั่ง
- ฝึกแต่งประโยค (บอกเล่า คำถาม ปฏิเสธ ขอร้อง คำสั่ง)
- สร้างสรรค์ชิ้นงาน (ประโยค)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ภาษาไทยถูกใจได้หลักการ
เรื่อง 8.1 ภาษาไทยถูกใจได้หลักการ
- คำที่ประวิสรรชนีย์
- คำที่ประวิสรรชนีย์ (พยางค์หน้า)
- คำที่ประวิสรรชนีย์ (พยางค์หลัง)
- คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
- ชวนคิดทบทวน (คำที่ประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์)
- คำที่อ่านออกเสียงบัน (บัน บัญ บัณ บัล บรร)
- ทบทวนชวนคิด (คำที่อ่านออกเสียงบัน)
- รร (ร หัน)
- ทบทวนชวนคิด (ร หัน)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เขียนสนุกแสนสุขสันต์
เรื่อง 9.1 เขียนสนุกแสนสุขสันต์
- การเขียนบันทึกประจำวัน
- การเขียนบันทึกความรู้
- ทบทวนชวนคิด มาตรา ก กา และการเขียนลำดับเรื่อง
- ทบทวนชวนคิด มาตรา กง และการเขียนบรรยายภาพ
- ทบทวนชวนคิด มาตรา กม และการเขียนเรื่องตามลำดับเหตุการณ์
- ทบทวนชวนคิด มาตรา เกย และเขียนคำคล้องจอง
- ทบทวนชวนคิด มาตรา เกอว และการเขียนเรื่องจากภาพ
- ทบทวนชวนคิด มาตรา กก กบ และการเขียนบันทึกการฟังและการอ่าน
- ทบทวนชวนคิด มาตรา กน กด และการเขียนบรรยายคน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เขียนประโยคด้วยจินตนาการ
เรื่อง 10.1 เขียนประโยคด้วยจินตนาการ
- การเขียนเรื่องตามจินตนาการ
- การเขียนบรรยายภาพ
- ทบทวนชวนคิด (ส่วนประกอบของประโยค)
- ทบทวนชวนคิด (คำนาม)
- ทบทวนชวนคิด (คำสรรพนาม)
- ทบทวนชวนคิด (คำกริยา)
- ทบทวนชวนคิด (ประโยคบอกเล่า และประโยคคำถาม)
- ทบทวนชวนคิด (ประโยคคำสั่ง ประโยคขอร้อง และประโยคปฏิเสธ)
เนื้อหา ภาษาไทย ป.3 เทอมปลาย
หน่วยที่ 11 ชื่อหน่วย ไตร่ตรองลองพูด
เรื่อง 1.1 ชื่อหน่วย ไตร่ตรองลองพูด
- การอ่านออกเสียง และคิดไตร่ตรอง
- การใช้พจนานุกรม
- คำและความหมาย
- การจับใจความสำคัญจากนิทาน
- การแสดงความคิดเห็นจากการอ่าน
- คัดลายมือเอกลักษณ์ไทย
- คัดลายมือและคิดวิเคราะห์
- คำคล้องจอง
- คำขวัญ
- การสื่อสารในโอกาสต่าง ๆ
หน่วยที่ 12 ชื่อหน่วย พิสูจน์วิชาหนาเจ้า
เรื่อง 2.1 ชื่อหน่วย พิสูจน์วิชาหนาเจ้า
- การอ่านออกเสียง เรื่อง มนุษย์กับการบิน
- การลำดับเหตุการณ์ และคาดคะเนเหตุการณ์
- บทอาขยานวิชาหนาเจ้า
- บทอาขยานวิชาหนาเจ้า
- การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากคำ
- การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากภาพ
- ฝึกเขียนเรื่องตามจินตนาการ
- คำที่ใช้ ฑ ฤ ฤๅ
- คำที่มีพยัญชนะ และสระไม่ออกเสียง
หน่วยที่ 13 ชื่อหน่วย เรามาบันทึก
เรื่อง 3.1 ชื่อหน่วย เรามาบันทึก
- การอ่านออกเสียงเรื่องสั้น
- การเขียนสรุปความรู้จากเรื่องที่อ่าน
- การพูดเล่าเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน
- การเขียนบันทึกประจำวัน
- คำที่มีตัวการันต์
- การสรุปความรู้จากนิทาน
- การพูดแสดงความคิดเห็น
- การแสดงความคิดเห็น
หน่วยที่ 14 ชื่อหน่วย ฝึกภาษาถิ่น
เรื่อง 4.1 ชื่อหน่วย ฝึกภาษาถิ่น
- การอ่านออกเสียงในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้
- บทร้อยกรองในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้
- การเขียนสรุปเรื่องและข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน
- ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นเหนือ
- ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นอีสานและภาษาถิ่นใต้
- ทบทวนชวนคิด (ภาษาถิ่น)
- การพูดแสดงความคิดเห็น และความรู้สึก
- การเขียนบรรยายคน
- การเขียนบรรยายสัตว์และสิ่งของ
- การเขียนบรรยายสถานที่
หน่วยที่ 15 ชื่อหน่วย ศาสตร์ศิลป์การลา
เรื่อง 5.1 ชื่อหน่วย ศาสตร์ศิลป์การลา
- การตั้งคำถาม และตอบคำถามจากการอ่าน
- การเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับข่าวหรือเหตุการณ์ประจำวัน
- จดหมายลาครู (ส่วนประกอบจดหมาย)
- จดหมายลาครู (จดหมายลาป่วย)
- จดหมายลาครู (จดหมายลากิจ)
- การอ่านและเขียนแผนภาพ
- การอ่านข้อมูลจากแผนที่
- การอ่านข้อมูลจากแผนภูมิ
- การแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน
หน่วยที่ 16 ชื่อหน่วย ภาษาเพื่อการสื่อสาร
เรื่อง 6.1 ชื่อหน่วย ภาษาเพื่อการสื่อสาร
- คำศัพท์น่ารู้ เรื่อง เล่นทายคำ
- การอ่านออกเสียง เรื่อง เล่นทายคำ
- สรุปความรู้และข้อคิดจาก เรื่อง เล่นคำทาย
- สำนวนชวนรู้
- ปริศนาคำทาย
- วิเคราะห์ชนิดของประโยค
- การคัดลายมือ
- การเขียนบรรยายภาพ
- การพูดแนะนำเชิญชวน
- อักษรนำจำให้ดี
หน่วยที่ 17 ชื่อหน่วย ภาษาเพื่อการสื่อสาร
เรื่อง 7.1 ชื่อหน่วย ภาษาเพื่อการสื่อสาร
- ธนูดอกไม้กับเจ้าชายน้อย
- หนังสือเล่มโปรดของฉัน
- คำควบกล้ำแท้ (ร ควบ)
- คำควบกล้ำแท้ (ล ควบ)
- คำควบกล้ำแท้ (ว ควบ)
- คำควบกล้ำไม่แท้
หน่วยที่ 18 ชื่อหน่วย ภาษาเพื่อการสื่อสาร
เรื่อง 8.1 ชื่อหน่วย ภาษาเพื่อการสื่อสาร
- พลังงานคือชีวิต
- สนุกกับคำขวัญ
- สนุกคิดพินิจคำถาม
- พูดดีมีสาระ
- รู้เรื่องเครื่องหมายวรรคตอน
- ทำนองเสนาะไพเราะเสียง
หน่วยที่ 19 ชื่อหน่วย ครื้นเครงเพลงไทย
เรื่อง 9.1 ชื่อหน่วย ครื้นเครงเพลงไทย
- กาเหว่าที่กลางกรุง
- เพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน
- เพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ
- เพลงกล่อมเด็กภาคใต้
- สนุกสนานเพลงพื้นบ้านไทย
- คำที่ประวิสรรชนีย์ และไม่ประวิสรรชนีย์
- คำพ้องรูป
- คำพ้องเสียง
หน่วยที่ 20 ชื่อหน่วย ภาษาไทยยั่งยืน
เรื่อง 10.1 ชื่อหน่วย ภาษาไทยยั่งยืน
- การอ่าน เรื่อง ของดีในตำบล
- การอ่านประกาศและป้ายโฆษณา
- การอ่านคำแนะนำ
- คำนามน่ารู้
- คำสรรพนาม
- คำกริยา
- คำวิเศษณ์
- หน้าที่ของคำเน้นย้ำประโยค
- การพูดเชิญชวน
บทสรุป
หลักสูตรภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพและสนุกสนาน ผู้เรียนจะได้ฝึกฝนทักษะการอ่าน การเขียน การพูด และการฟังภาษาไทยอย่างครบถ้วน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในทุกสถานการณ์
หลักสูตรนี้ยังเน้นให้ผู้เรียนใช้ภาษาไทยอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก และความคิดสร้างสรรค์ของตนเองได้อย่างเต็มที่ เราเชื่อว่าหลักสูตรนี้จะช่วยให้ผู้เรียนมีความรักและภาคภูมิใจในภาษาไทยของตนเอง
ร่วมแสดงความคิดเห็นในหัวข้อ “เนื้อหา ภาษาไทย ป.3 อัพเดทล่าสุด ตามหลักสูตรกระทรวง”